วันอังคารที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554

หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ การบรรพอุปสมบท


หน้าที่ชาวพุทธ


หน้าที่ชาวพุทธ
     ชาวพุทธเป็นคำที่บัญญัติขึ้นมาใหม่  คำเท่าที่รู้จักกันดีมาตั้งแต่สมัยพระพุทธเจ้า  คือ  พุทธบริษัท ๔ 
ได้แก่  ภิกษุ  ภิกษุณี  อุบาสก  อุบาสิกา คำว่า  พุทธบริษัท  หมายถึง  กลุ่มหรือชมรมบุคคลที่รวมกลุ่มกัน
ในแนวคิดเห็นและมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาร่วมกันเป็นเอกภาพ  ปฏิบัติหน้าที่ในเป้าหมายอันเดียวกัน 
คือเพื่อสร้างสรรค์สันติสุขแก่สังคม  ต่อมาได้มีการเรียกพุทธบริษัทในคำบัญญัติใหม่ตามภาษาไทยว่า 
พุทธศาสนิกชน  และมีการบัญญัติศัพท์ใหม่ว่า  ชาวพุทธ  ในเวลาต่อมา
             
ภาพชาวพุทธไหว้หลวงพ่อโสธร วัดโสธรวรารามวรวิหาร
ที่มา : ภาพโดย อรุณี  สังขกุญชร
ชาวพุทธ  หมายถึง  บุคคลที่นับถือพระพุทธศาสนา  มีหน้าที่ต่อพระพุทธศาสนาหลายประการ
ในที่นี้จะกล่าวถึงหน้าที่ของชาวพุทธ  ๗  ประการ  ดังนี้




มารยาทชาวพุทธ 


แบบฝึกหัดที่ ๓  เรื่อง  การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (คะแนนเต็ม ๑๘ คะแนน)

๑.  ให้นักเรียนศึกษาภาพตัวอย่างต่อไปนี้  แล้วตอบคำถามในประเด็นที่กำหนดให้ 
คำถาม จากภาพ เป็นการแสดงความเคารพพระภิกษุสงฆ์ ทางพระพุทธศาสนาเรียกว่าอย่างไร
ประกอบด้วยอะไรบ้าง  ชาย  หญิง แสดงความเคารพแตกต่างกันอย่างไร (๘ คะแนน)

....................................................................................................................
.........................................……………...............................................................

                                                                                        
..................................................................
.................................................................


...................................................................
...................................................................


....................................................................
...................................................................     
                                                                                            

........................................................................
........................................................................


........................................................................
........................................................................
                       



........................................................................
........................................................................



........................................................................
........................................................................


........................................................................
........................................................................
๒. จากภาพนักเรียนต้องเดินผ่านพระภิกษุที่ท่านกำลังยืนอยู่นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร (๒ คะแนน)

                       
............................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
๓. จากภาพเมื่อนักเรียนรับของจากพระสงฆ์ในขณะที่พระสงฆ์ยืนหรือนั่งอยู่บนที่สูง นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร  (๒ คะแนน)



.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
๔. สังเกตภาพและตอบคำถาม


๔.๑ เด็กในภาพปฏิบัติต่อพระภิกษุสงฆ์อย่างไร (๑ คะแนน)
………………………………………………
………………………………………………
๔.๒ นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับการกระทำของเด็กในภาพ (๑ คะแนน)
………………………………………………
………………………………………………
๔.๓  ถ้านักเรียนปฏิบัติเหมือนเด็กในภาพจะเกิดผลอย่างไร (๑ คะแนน)
.............................................................................................................................................................
๔.๔  นอกจากการทำเหมือนเด็กในภาพแล้ว นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไรต่อพระภิกษุสงฆ์อีก (๑ คะแนน)
............................................................................................................................................................

    
๕. ถ้าพระภิกษุสงฆ์ นั่งอยู่กับพื้น และเราต้องการจะนำเครื่องรับรองไปประเคน  ชายและหญิง ปฏิบัติแตกต่างกันอย่างไร  ดังภาพ   (๒ คะแนน)
….........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................


............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
การบรรชาอุปสมบท

ประเพณีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของคนไทย มีตั้งแต่แรกเกิดจนไปถึงวันสุดท้ายแห่งสังขาร เริ่มจากประเพณี การทำขวัญวัน ทำขวัญเดือน โกนผมไฟ โกนจุก บรรพชา จนเมื่อมีอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ หากเป็นชายก็จะต้องอุปสมบท หรือบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา เพื่อศึกษาพระธรรมวินัย นำมาเป็นหลัก ในการประพฤติปฏิบัติต่อไป ในการออกมาครองเรือน

กิจเบื้องต้นสำหรับการบรรพชาอุปสมบท
เมื่อผู้ที่มีความประสงค์จะบวชมีอายุครบตามกำหนดแล้ว จะต้องตระเตรียมหาวันบวชปละหาอุปัชฌาย์เพื่อบวชให้ตน ซึ่งในสังคมไทยส่วนใหญ่หน้าที่นี้จะเป็นของพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ของผู้ที่จะบวช โดยทั่วไปเชื่อว่า ท่านได้เตรียมการ ไว้ล่วงหน้านานแล้ว ตั้งแต่ทราบว่าทายาทใหม่ที่คลอดออกมาเป็นชาย มีอวัยวะครบบริบูรณ์สามารถบวชเรียนได้
การบวชในเมืองไทยมักนิยมบวชกันตามประเพณีในช่วงก่อนวันเข้าพรรษา คือราวเดือน ๔ ถึงเดือน ๗ ของไทย เทียบกับเดือนของทางราชการก็อยู่ในราว เมษายน ถึง เดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคม ส่วนใหญ่จะบวชกันราว ๓ เดือน และสึกหรือลาสิกขาเมื่อพ้นจากวันออกพรรษา ในราวเดือน ๑๑ หรือเดือน ตุลาคม แต่ถ้าใครจะบวช ต่อเพื่อศึกษา พระธรรมวินัยให้ลึกซึ้งยิ่งๆขึ้นไป และเป็นกำลังสำคัญในการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา ก็ไม่มีเหตุขัดข้องประการใด